ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
ศีล 5 คืออะไร มารักษาศีล 5 กันเถอะ
ศีล 5 คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำไมต้องรักษาศีล5 เราเข้าใจเรื่องศีล 5 มากน้อยแค่ไหน มาหาคำตอบเกี่ยวกับศีลห้ากันได้ที่นี่ค่ะ พร้อมภาพประกอบศีล 5 สวยๆ ...
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ Five Precept ศีล 5
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่อง Five Precept = ศีล 5 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟังจะมีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ได้พรจากหลวงปู่ 3 ข้อ
คุณวรวรรณ ถนอมพงษ์ เล่าประสบการณ์ที่เธอได้พรจากหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) 3 ข้อ จนผ่านพ้นช่วงตกต่ำที่สุดในชีวิตมาได้
ศีล 5 การสมาทานและรับศีล 5 อานิสงส์ของศีล
ศีล 5 การสมาทานศีล วิธีการสมาทานศีล 5 มี 3 แบบ คือ แบบสัมปัตตวิรัติ แบบสมาทานวิรัติ และแบบสมุจเฉทวิรัติ วิธีการรับศีลที่ถูกต้อง
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ 8 Precepts ศีล 8
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่องของ 8 Precepts = ศีล 8 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟัง จะมีวิธีการอธิบายอย่างไร เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ภิกษุณีกับแม่ชีมีความแตกต่างกันอย่างไร
ภิกษุณีมีศีล ๓๑๑ ข้อ แต่ชีมีศีล ๘ ข้อ แม่ชีกับภิกษุณี เป็นคนละประเภทกัน ภิกษุณีนั้นหมดไปนานแล้ว ส่วนแม่ชีนั้นเทียบได้แค่อุบาสิกาเท่านั้นเอง เพราะถือศีล ๘ ยกขึ้นเทียบกับภิกษุณีไม่ได้เลย
อย่าไปยึดมั่นถือมั่น
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าพระพุทธจ้าสอนว่าคนเราไม่ควรยึดมั่นถือมั่นแล้วทำไมพระสงฆ์ท่านจึงมีข้อปฏิบัติเยอะจังครับ
ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น